วันเสาร์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2553

รัฐบาลไทย(คณะรัฐมนตรี)

รายชื่อคณะรัฐมนตรีไทย

คณะรัฐมนตรีไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันประเทศไทยมีคณะรัฐมนตรีทั้งหมด 59 คณะ ดังนี้

คณะที่1

นายกรัฐมยตรี : พระยามโนปกรณ์นิติธาดา(ก้อน หุตะสิงห์)
เริ่มวาระ : 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475
สิ้นสุดวาระ : 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475
ระยะเวลา : 165 วัน
สิ้นสุดลงโดย : ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475
คณะที่2
เริ่มวาระ : 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475
สิ้นสุดวาระ : 1 เมษายน พ.ศ. 2476
สิ้นสุดลงโดย : รัฐประหาร โดยพระราชกฤษฎีกา
คณะที่3
เริ่มวาระ 1 เมษายน พ.ศ. 2476
สิ้นสุดวาระ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476
สิ้นสุดลงโดย ลาออก และรัฐประหาร (นำโดยพระยาพหลพลพยุหเสนา บังคับให้ลาออก)[1]

คณะที่4
นายกรัฐมนตรี พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา(พจน์ พหลโยธิน)
เริ่มวาระ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476
สิ้นสุดวาระ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476
สิ้นสุดโดย ลาออก (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่5
เริ่มวาระ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476
สิ้นสุดวาระ 22 กันยายน พ.ศ. 2477
สิ้นสุดโดย ลาออก (สภาไม่อนุมัติสนธิสัญญาจำกัดยางของรัฐบาล)
คณะที่6
เริ่มวาระ 22 กันยายน พ.ศ. 2477
สิ้นสุดวาระ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480
สิ้นสุดโดย ลาออก (กระทู้เรื่องขายที่ดินพระคลังข้างที่)
คณะที่7
เริ่มวาระ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480
สิ้นสุดวาระ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480
สิ้นสุดลงโดย สภาครบวาระ (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่8
เริ่มวาระ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480
สิ้นสุดวาระ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481
สิ้นสุดโดย ยุบสภา[2] (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่9
นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม(หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ))
เริ่มวาระ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481
สิ้นสุดวาระ 7 มีนาคม พ.ศ. 2485
สิ้นสุดโดย ลาออก (เปลี่ยนแปลงคณะรัฐมนตรีให้เหมาะสม)
คณะที่10
เริ่มวาระ 7 มีนาคม พ.ศ. 2485
สิ้นสุดวาระ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487
สิ้นสุดโดย ลาออก (สภาผู้แทนราษฎรไม่อนุมัติร่างพระราชบัญญัติ และพระราชกำหนด)
คณะที่11
นายกรัฐมนตรี พันตรี ควง อภัยวงศ์หลวงโกวิทอภัยวงศ์
เริ่มวาระ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487
สิ้นสุดวาระ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2488
สิ้นสุดโดย ลาออก (สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้สิ้นสุดลง)
คณะที่12
นายกรัฐมนตรี นายทวี บุณยเกตุ
เริ่มวาระ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2488
สิ้นสุดวาระ 17 กันยายน พ.ศ. 2488
ระยะเวลา 17 วัน
สิ้นสุดโดย ลาออก (เปิดโอกาสให้ผู้ที่เหมาะสมเข้ามาแทน)
คณะที่13
นายกรัฐมนตรี หม่อมราชวงศ์ เสนีย์ ปราโมช
เริ่มวาระ 17 กันยายน พ.ศ. 2488
สิ้นสุดวาระ 31 มกราคม พ.ศ. 2489
สิ้นสุดโดย ยุบสภา (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่14
นายกรัฐมนตรี พันตรี ควง อภัยวงศ์หลวงโกวิทอภัยวงศ์
เริ่มวาระ 31 มกราคม พ.ศ. 2489
สิ้นสุดวาระ 24 มีนาคม พ.ศ. 2489
สิ้นสุดโดย ลาออก (แพ้มติสภาที่เสนอพระราชบัญญัติที่รัฐบาลรับไม่ได้)
คณะที่15
นายกรัฐมนตรี นายปรีดี พนมยงค์(หลวงประดิษฐ์มนูธรรม)
เริ่มวาระ 24 มีนาคม พ.ศ. 2489
สิ้นสุดวาระ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489
สิ้นสุดโดย ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489 (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่16
เริ่มวาระ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489
สิ้นสุดวาระ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489
สิ้นสุดโดย ลาออก (ถูกใส่ความกรณีสวรรคตรัชกาลที่ 8)
คณะที่17
นายกรัฐมนตรี พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์(หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์)
เริ่มวาระ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489
สิ้นสุดวาระ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490
สิ้นสุดวาระโดย ลาออก (หลังจากการอภิปรายทั่วไป 7 วัน 7 คืน)
คณะที่18
เร่มวาระ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490
สิ้นสุดวาระ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
สิ้นสุดโดย รัฐประหาร นำโดยจอมพล ผิน ชุณหะวัณ
คณะทหารแห่งชาตินำโดย จอมพล ผิน ชุณหะวัณ
เริ่มวาระ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
สิ้นสุดวาระ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
ระยะเวลา 3 วัน
สิ้นสุดโดย ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ. 2490 และแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนใหม่ [3]
คณะที่19
นายกรัฐมนตรี พันตรี ควง อภัยวงศ์หลวงโกวิทอภัยวงศ์
เริ่มวาระ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
สิ้นสุดวาระ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491
สิ้นสุดโดยลาออก (เป็นรัฐบาลรักษาการเพื่อจัดเลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่20
เริ่มวาระ21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491
สิ้นสุดวาระ 8 เมษายน พ.ศ. 2491
สิ้นสุดโดย ลาออก (คณะรัฐประหารบังคับให้ลาออกภายใน 24 ชั่วโมง (รัฐประหารเงียบ))
คณะที่21
นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม(หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ))
เริ่มวาระ 8 เมษายน พ.ศ. 2491
สิ้นสุดวาระ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492
สิ้นสุดโดย ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2492 (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่22
เริ่มวาระ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492
สิ้นสุดวาระ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494
สิ้นสุดโดย คณะบริหารประเทศชั่วคราวประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 อีกครั้งหนึ่งไปพลางก่อน (รัฐประหารตนเอง)
คณะที่23
เริ่มวาระ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494
สิ้นสุดวาระ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2494
สิ้นสุดโดย มีการแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 ขึ้นใหม่
คณะที่24
เริ่มวาระ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2494
สิ้นสุดวาระ 24 มีนาคม พ.ศ. 2495
สิ้นสุดโดย ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2495 (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่25
เริ่มวาระ 24 มีนาคม พ.ศ. 2495
สิ้นสุดวาระ 21 มีนาคม พ.ศ. 2500
สิ้นสุดโดย สภาผู้แทนราษฎรครบวาระ (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่26
เริ่มวาระ 21 มีนาคม พ.ศ. 2500
สิ้นสุดวาระ 16 กันยายน พ.ศ. 2500
สิ้นสุดโดย รัฐประหาร นำโดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
คณะทหารนำโดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ในฐานะผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร[4]
เริ่มวาระ 16 กันยายน พ.ศ. 2500
สิ้นสุดวาระ 21 กันยายน พ.ศ. 2500
ระยะเวลา 5 วัน
สิ้นสุดโดย แต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนใหม่ [5]
คณะที่27
นายกรัฐมนตรี นายพจน์ สารสิน
เริ่มวาระ 21 กันยายน พ.ศ. 2500
สิ้นสุดวาระ 1 มกราคม พ.ศ. 2501
สิ้นสุดโดย ลาออก (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่28
นายกรัฐมนตรี จอมพล ถนอม กิตติขจร
เริ่มวาระ 1 มกราคม พ.ศ. 2501
สิ้นสุดวาระ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
สิ้นสุดโดย ลาออกและรัฐประหาร นำโดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
คณะปฏิวัตินำโดยจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์
เริ่มวาระ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
สิ้นสุดวาระ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502
สิ้นสุดโดย ประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2502 และแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนใหม่ [6]
คณะที่29
นายกรัฐมนตรี จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์
เริ่มวาระ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502
สิ้นสุดวาระ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506
สิ้นสุดโดย นายกรัฐมนตรีถึงแก่อสัญกรรม
คณะที่30
นายกรัฐมนตรี จอมพลถนอม กิตติขจร
เริ่มวาระ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2506
สิ้นสุดวาระ 7 มีนาคม พ.ศ. 2512
สิ้นสุดโดย ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2511 (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่31
เริ่มวาระ 7 มีนาคม พ.ศ. 2512
สิ้นสุดวาระ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
สิ้นสุดโดยรัฐประหาร โดยจอมพล ถนอม กิตติขจร (รัฐประหารตนเอง)
คณะปฏิวัตินำโดยจอมพล ถนอม กิตติขจร
เริ่มวาระ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
สิ้นสุดวาระ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2515
สิ้นสุดโดย ประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2515 และแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี [7]
คณะที่32
นายกรัฐมนตรี จอมพล ถนอม กิตติขจร
เริ่มวาระ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2515
สิ้นสุดวาระ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
สิ้นสุดโดย ลาออก (เกิดเหตุการณ์ 14 ตุลา)
คณะที่33
นายกรัฐมนตรี นายสัญญา ธรรมศักดิ์
เริ่มวาระ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
สิ้นสุดวาระ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
สิ้นสุดโดย ลาออก (อ้างเหตุร่างรัฐธรรมนูญไม่เสร็จ)
คณะที่34
เริ่มวาระ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
สิ้นสุดวาระ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518
สิ้นสุดโดย ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517 (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่35
นายกรัฐมนตรี หม่อมราชวงศ์ เสนีย์ ปราโมช
เร่มวาระ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518
สิ้นสุดวาระ 14 มีนาคม พ.ศ. 2518
สิ้นสุดโดย ไม่ได้รับความไว้วางใจ จากส.ส. ในการแถลงนโยบาย
คณะที่36
นายกรัฐมนตรี พลตรี หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
เริ่มวาระ 14 มีนาคม พ.ศ. 2518
สิ้นสุดวาระ 20 เมษายน พ.ศ. 2519
สิ้นสุดโดย ยุบสภา[8] (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่37
นายกรัฐมนตรี หม่อมราชวงศ์ เสนีย์ ปราโมช
เริ่มวาระ 20 เมษายน พ.ศ. 2519
สิ้นสุดวาระ 25 กันยา ยน พ.ศ. 2519
สิ้นสุดโดย ลาออก (วิกฤตการณ์จอมพล ถนอม กลับประเทศเพื่ออุปสมบท)
คณะที่38
เริ่มวาระ 25 กันยายน พ.ศ. 2519
สิ้นสุดวาระ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
ระยะเวลา 11 วัน
สิ้นสุดโดย รัฐประหาร โดยพลเรือเอก สงัด ชลออยู่
คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินนำโดย พลเรือเอก สงัด ชลออยู่
เริ่มวาระ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
สิ้นสุดวาระ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519
ระยะเวลา 2 วัน
สิ้นสุดโดย แต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนใหม่ และประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2519 เป็นผลให้คณะปฏิรูปฯ แปรสภาพเป็น สภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน
คณะที่39
นายกรัฐมนตรี นายธานินทร์ กรัยวิเชียร
เริ่มวาระ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519
สิ้นสุดวาระ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520
สิ้นสุดโดย รัฐประหาร โดยพลเรือเอก สงัด ชลออยู่
คณะปฏิวัตินำโดย พลเรือเอก สงัด ชลออยู่
เริ่มวาระ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520
สิ้นสุดวาระ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520
ระยะเวลา 1 เดือน
สิ้นสุดโดย ประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2520 และแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนใหม่
คณะที่ 40
นายกรัฐมนตรีพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
เริ่มวาระ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520
สิ้นสุดวาระ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522
สิ้นสุดโดย ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2521 (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที41
เริ่สมวาระ12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522
สิ้นสุดวาระ 3 มีนาคม พ.ศ. 2523
สิ้นสุดโดย ลาออก (วิกฤตการณ์น้ำมันและผู้ลี้ภัย)
คณะที่ 42
นายกรัฐมนตรี พลเอก เปรม ติณสูลานนท์
เริ่มวาระ 3 มีนาคม พ.ศ. 2523
สิ้นสุดวาระ 30 เมษายน พ.ศ. 2526
สิ้นสุดโดย ยุบสภา[9] (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่ 43
เริ่มวาระ 30 เมษายน พ.ศ. 2526
สิ้นสุดวาระ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2529
สิ้นสุดโดย ยุบสภา[10] (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่44
เริ่มวาระ5 สิงหาคม พ.ศ. 2529
สิ้นสุดวาระ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2531
สิ้นสุดโดย ยุบสภา[11] (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่45
นายกรัฐมนตรี พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ
เริ่มวาระ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2531
สิ้นสุดวาระ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2533
สิ้นสุดโดย ลาออก แล้วจัดตั้งรัฐบาลใหม่
คระที่46
เริ่มวาระ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2533
สิ้นสุดวาระ23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534
สิ้นสุดโดย รัฐประหาร นำโดย พลเอก สุนทร คงสมพงษ์
คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.)นำโดย พลเอก สุนทร คงสมพงษ์
เริ่มวาระ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534
สิ้นสุดวาระ 1 มีนาคม พ.ศ. 2534
ระยะเวลา 5 วัน
สิ้นสุดโดย ประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2534 และแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนใหม่
คณะที่ 47
นายกรับมนตรี นายอานันท์ ปันยารชุน
เริ่มวาระ 2 มีนาคม พ.ศ. 2534
สิ้นสุดวาระ 7 เมษายน พ.ศ. 2535
สิ้นสุดโดย ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2534 (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่ 48
นายกรับมนตรี พลเอก สุจินดา คราประยูร
เริ่มวาระ 7 เมษายน พ.ศ. 2535
สิ้นสุดวาระ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535
สิ้นสุดโดย ลาออก (เกิดเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ)
นายกรัฐมนตรี นายมีชัย ฤชุพันธุ์
เริ่มวาระ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535
สิ้นสุดวาระ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2535
คณะที่49
นายกรัฐมนตรี นายอานันท์ ปันยารชุน
เริ่มวาระ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2535
สิ้นสุดวาระ 23 กันยายน พ.ศ. 2535
สิ้นสุดโดย ยุบสภา[12] (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่ 50
นายกรัฐมนตรี นายชวน หลีกภัย
เริ่มวาระ 23 กันยายน พ.ศ. 2535
สิ้นสุดวาระ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
สิ้นสุดโดย ยุบสภา[13] (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่ 51
นายกรัฐมนตรี นายบรรหาร ศิลปอาชา
เริ่มวาระ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
สิ้นสุดวาระ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
สิ้นสุดโดย ยุบสภา[14] (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่ 52
นายกรัฐมนตรี พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ
เริ่มวาระ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
สิ้นสุดวาระ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
สิ้นสุดโดย ลาออก (วิกฤตการณ์เศรษฐกิจ)
คณะที่53
นายกรัฐมนตรี นายชวน หลีกภัย
เริ่มวาระ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
สิ้นสุดวาระ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
สิ้นสุดโดย ยุบสภา[15] (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่54
นายกรัฐมนตรี พันตำรวจโท ดร. ทักษิณ ชินวัตร
เริ่มวาระ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
สิ้นสุดวาระ 11 มีนาคม พ.ศ. 2548
ระยะเวลา 1461 วัน
สิ้นสุดโดย สภาฯ ครบวาระ 4 ปี
คณะที่55
เริ่มวาระ 11 มีนาคม พ.ศ. 2548
สิ้นสุดวาระ 19 กันยายน พ.ศ. 2549
สิ้นสุดโดย ยุบสภาเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2549 มีการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อ วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2549 แต่ต่อมาถูกศาลพิพากษาให้การเลือกตั้งเป็นโมฆะ ต่อมาเกิด รัฐประหาร โดยพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ระหว่างที่ ครม.รักษาการเพื่อรอการเลือกตั้งครั้งใหม่
คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยฯ (คปค.)นำโดยพลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน
เริ่มวาระ 19 กันยายน พ.ศ. 2549
ส้นสุดวาระ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549
ระยะเวลา 12 วัน
สิ้นสุดโดย ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ. 2549 และแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนใหม่
คณะที่56
นายกรัฐมนตรี พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์
เริ่มวาระ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549
สิ้นสุดวาระ 29 มกราคม พ.ศ. 2551
ระยะเวลา 486 วัน
สิ้นสุดโดย ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 (เลือกตั้งทั่วไป)
คณะที่57
นายกรัฐมนตรี นายสมัคร สุนทรเวช
เริ่มวาระ 29 มกราคม พ.ศ. 2551
สิ้นสุดวาระ 9 กันยายน พ.ศ. 2551
ระยะเวลา 223 วัน
สิ้นสุดโดย ศาลรัฐธรรมนูญ ตัดสินให้พ้นจากตำแหน่ง เพราะกระทำการที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ[16]
นายกรัฐมนตรี นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์
เริ่มวาระ 9 กันยายน พ.ศ. 2551
สิ้นสุดวาระ 18 กันยายน พ.ศ. 2551
ระยะเวลา 9 วัน
คณะที่58
นายกรัฐมนตรี นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์
เริ่มวาระ 18 กันยายน พ.ศ. 2551
สิ้นสุดวาระ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551
ระยะเวลา 75 วัน
สิ้นสุดโดย ศาลรัฐธรรมนูญมีมติให้ยุบพรรคพลังประชาชนและตัดสิทธิ์ทางการเมืองของคณะกรรมการบริหารพรรคคนละ 5 ปี
นายกรัฐมนตรี นายชวรัตน์ ชาญวีรกูล
เริ่มวาระ2 ธันวาคม พ.ศ. 2551
สิ้นสุดวาระ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551
ระยะเวลา 15 วัน
คณะที่59
นายกรัฐมนตรี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
เริ่มวาระ17 ธันวาคม พ.ศ. 2551
ปัจจุบัน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น